กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่บัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่รัฐ แก่หน่วยงานของรัฐ แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และแก่ประชาชน ในการบริหาร การปกครองประเทศ และการบริการสาธารณะ ซึ่งหลักการ สำคัญของกฎหมายมหาชนนอกจากจะบัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังที่กล่าวมาแล้ว การใช้อำนาจหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติยังสามารถควบคุมตรวจสอบได้ ตามหลักเกณฑ์และกระบวนการของกฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่บัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่รัฐ แก่หน่วยงานของรัฐ แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และแก่ประชาชน ในการบริหาร การปกครองประเทศ และการบริการสาธารณะ ซึ่งหลักการ สำคัญของกฎหมายมหาชนนอกจากจะบัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังที่กล่าวมาแล้ว การใช้อำนาจหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติยังสามารถควบคุมตรวจสอบได้ ตามหลักเกณฑ์และกระบวนการของกฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่บัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่รัฐ แก่หน่วยงานของรัฐ แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และแก่ประชาชน ในการบริหาร การปกครองประเทศ และการบริการสาธารณะ ซึ่งหลักการ สำคัญของกฎหมายมหาชนนอกจากจะบัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังที่กล่าวมาแล้ว การใช้อำนาจหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติยังสามารถควบคุมตรวจสอบได้ ตามหลักเกณฑ์และกระบวนการของกฎหมายมหาชน
บันทึกหลักการและเหตุผลประกอบร่างกฎกระทรวง กําหนดลักษณะการให้การอุดหนุนแก่การส่งออก พ.ศ. ....
หลักการ
การอุดหนุนของรัฐบาลต่างประเทศที่มีลักษณะเจาะจงแก่การส่งออกเป็นการอุดหนุนที่สามารถตอบโต้ได้ ภายใต้ความตกลงว่าด้วยการอุดหนุนและมาตรการตอบโต้การอุดหนุนขององค์การการค้าโลก
เหตุผล
โดยที่มาตรา 5 วรรคสอง และมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนซึ่ง สินค้าจากต่างประเทศ พ.ศ. 2542 บัญญัติให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์มีอํานาจออกกฎกระทรวงกําหนด หลักเกณฑ์และวิธีการเกี่ยวกับการพิจารณาการอุดหนุน เพื่อให้มีกฎกระทรวงว่าด้วยการให้การอุดหนุนที่มี ลักษณะเจาะจงแก่การส่งออกของรัฐบาลต่างประเทศไม่ว่าโดยทางพฤตินัยหรือโดยทางนิตินัย ตามที่กําหนดไว้ใน มาตรา 65 (1) แห่งพระราชบัญญัติดังกล่าว ประกอบการพิจารณาการกําหนดมาตรการตอบโต้การอุดหนุนสินค้า จากต่างประเทศ จึงจําเป็นต้องออกกฎกระทรวงนี้
ไม่มีประเด็นที่เกี่ยวข้อง