ร่างพระราชบัญญัติการชลประทาน พ.ศ. ....

สรุปสาระสำคัญของร่างพระราชบัญญัติการชลประทาน พ.ศ. ....
- YYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYYY.docx (261 ดาวน์โหลด)
กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่บัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่รัฐ แก่หน่วยงานของรัฐ แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และแก่ประชาชน ในการบริหาร การปกครองประเทศ และการบริการสาธารณะ ซึ่งหลักการ สำคัญของกฎหมายมหาชนนอกจากจะบัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังที่กล่าวมาแล้ว การใช้อำนาจหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติยังสามารถควบคุมตรวจสอบได้ ตามหลักเกณฑ์และกระบวนการของกฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่บัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่รัฐ แก่หน่วยงานของรัฐ แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และแก่ประชาชน ในการบริหาร การปกครองประเทศ และการบริการสาธารณะ ซึ่งหลักการ สำคัญของกฎหมายมหาชนนอกจากจะบัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังที่กล่าวมาแล้ว การใช้อำนาจหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติยังสามารถควบคุมตรวจสอบได้ ตามหลักเกณฑ์และกระบวนการของกฎหมายมหาชน
กฎหมายมหาชน คือ กฎหมายที่บัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่รัฐ แก่หน่วยงานของรัฐ แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ และแก่ประชาชน ในการบริหาร การปกครองประเทศ และการบริการสาธารณะ ซึ่งหลักการ สำคัญของกฎหมายมหาชนนอกจากจะบัญญัติให้อำนาจและหน้าที่แก่หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ดังที่กล่าวมาแล้ว การใช้อำนาจหน้าที่ที่กฎหมายบัญญัติยังสามารถควบคุมตรวจสอบได้ ตามหลักเกณฑ์และกระบวนการของกฎหมายมหาชน
กรุณากรอกข้อมูลพื้นฐานเพื่อประโยชน์และจัดทำรายงานสำหรับการรับฟังความคิดเห็น |
- ร่างพระราชบัญญัติการชลประทาน พ.ศ. .... ได้กำหนดโครงสร้างตามหลักการดังต่อไปนี้
๑. การดำเนินการที่เป็นหลักการสำคัญของการชลประทาน เช่น การกำหนดทางน้ำชลประทาน การเก็บค่าชลประทาน การบำรุงรักษาและการคุ้มครองทางน้ำชลประทานยังคงกำหนดแนวทางปฏิบัติไว้ตามการเดิมของกฎหมายปัจจุบัน เพราะเป็นแนวทางปฏิบัติที่เข้าใจและยอมรับในปัจจุบันอยู่แล้ว เพื่อมิให้เกิดความสับสนทั้งในด้านเจ้าหน้าที่และประชาชน แต่ได้เพิ่มรายละเอียดเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางของระบบกฎหมายในปัจจุบัน
๒. เพิ่มเติมหลักการใหม่เพื่อให้การดำเนินการต่างๆ เกี่ยวกับการชลประทานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและเป็นไปตามแนวทางการบริหารราชการในปัจจุบัน ในเรื่องดังต่อไปนี้
(๒.๑) การจัดทำแผนการชลประทาน
(๒.๒) การกำหนดทางน้ำชลประทานในเขตที่ดินที่อยู่ในความครอบครองของหน่วยงานอื่นของรัฐ
(๒.๓) การบริหารจัดการเขตชลประทาน
(๒.๔) การมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและกลุ่มผู้ใช้น้ำ
(๒.๕) การปรับปรุงทุนหมุนเวียนเพื่อการชลประทานเป็นกองทุนเพื่อการชลประทาน
(๒.๖) การกำหนดอำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานในการจัดการเขตชลประทาน
และทางน้ำชลประทาน
(๒.๗) การกำหนดมาตรการคุ้มครองทางน้ำชลประทานเพิ่มเติม
(๒.๘) การใช้มาตรการทางปกครองและมาตรการทางแพ่งกับการกระทำที่เกิดความเสียหายแก่การชลประทาน
|